บันทึกการเรียนครั้งที่ สิบสี่
-บรรยายกาศในห้องเรียน
วันนี้เป็นตารางเรียนชดเชยของวันหยุด อาจารย์นัดให้มาเรียนที่ตึก 4 การเรียนในวันนี้คืออาจารย์สอนการเขียนเเผนเพิ่มเติมและให้งานกลุ่มที่ทำหน่วยการสอนด้วยกันเขียนลงไปในแบบแผนที่อาจารย์แจกให้ โดยในนั้นก็จะมีทั้ง 4 ด้านโดยให้เราเขียนไปว่าจากแผนที่เราทำมานั้นสามารถพัฒนาด้านไหนได้บ้าง และมีการบรูณาในเรื่องของวิชาอะไรบ้าง
เช่นกลุ่มของฉันจะเป็นเรื่องกล้วย กิจกรรมที่ทำนั้นสามารถพัฒนาได้ทั้ง 4 ด้าน คือ
-ด้านร่างกาย คือการเคลื่อนไหวในการทำกิจกรรม
-ด้านอารมณ์ คือเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
-ด้านสังคม คือการทำงานร่วมกับเพื่อนๆ
-ด้สนสติปัญญา คือการแก้ปัญหา หรือการใช้ความคิดสร้างสรรในการทำกิจกรรม
การบูรณาการ เช่น
-วิชาคณิตศาสตร์
-วิชาศิลปะ
-วิชาพละศึกษา
-ความรู้ที่ได้รับ
การเขียนแผนที่เชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์
การบูรณาการเข้ากับวิชาต่างๆ
การจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็ก
-ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการสอนที่เข้าใจ และอธิบายงานได้ละเอียดมีการยกตัวอย่าง และถามให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
บล็อกนี้จัดทำขึ้นเพื่อสะสมผลงานรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
บันทึกการเรียนครั้งที่ สิบสาม
-บรรยากาศในห้องเรียน
อาจารย์ให้ตัวแทนของกลุ่มแต่ละกลุ่มที่ได้รับมอบหมายเรื่องนิทานออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน มีดังนี้
-บรรยากาศในห้องเรียน
อาจารย์ให้ตัวแทนของกลุ่มแต่ละกลุ่มที่ได้รับมอบหมายเรื่องนิทานออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน มีดังนี้
1.เรื่องกล้วยน้อยชั่งคิด คือกลุ่มของฉันเอง อาจารย์ให้ไปปรับแก้เนื้อหาของเรื่องให้มีความสอดคล้องกับคณิตศาสตร์ให้มากกว่านี้ และเนื้อเรื่องให้มีความชัดเจนและเหมาะกับเด็กอนุบาล
2.เรื่องหนูจินสอนเพื่อน เรื่องนี้อาจารย์ก็แนะนำให้มีเนื่อหาที่สอดคล้องกับคณิตศาตร์ที่ชัดเจนมากขึ้นเช่นกัน
3.เรื่องประโยชน์ของผลไม้ เรื่องนี้อาจารย์ให้เพิ่มเติมในเรื่องขนาด รูปทรง และสี
4.เรื่องหมีน้อยกับรถคู่ใจ เรื่องนี้ก็แนนำให้ไปเพิ่มเนื้อหาที่มีเรื่องราวกับคณิตศาสตร์ที่มากขึ้นและน่าสนใจ
-ความรู้ที่ได้รับ
การแต่งนิทานที่มีเนื่อหาสอดคล้องกับวิชาคิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
การออกแบบนิทานที่น่าสนใจ
การวาดภาพและการเขียนตัวหนังสือที่ชัดเจนเหมาะสำหรับการนำไปสอนเด็ก
-ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนเรื่องการเชื่อมโยงหน่วยการสอนของเราในการแต่งนิทานคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก และแนะนำเนื่อหาเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับนิทานคณิตศาสตร์
บันทึกการเรียนครั้งที่ สิบสอง
-บรรยากาศในห้องเรียน
-บรรยากาศในห้องเรียน
อาจารย์ก็ให้แต่ล่ะกลุ่มออกมานำเสนอแผนการสอน
แผนการสอนกลุ่มของฉันคือ เรื่องกล้วย
วัตถุประสงค์
1.เด็กรู้จักแยกแยะส่วนประกอบของกล้วย
2.เด็กรู้จักจัดหมวดหมู่ของกล้วยได้
การดำเนินการ
ขั้นนำ
1.ครูเริ่มด้วยเพลงและถามเด็กว่าในเพลง ทรงกล้วยมีลักษณะอะไรบ้าง
ขั้นสอน
2.นำกล้วยออกมาให้เด็กดูที่ล่ะ 1 ชนิดพร้อมให้เด็กสังเกต
3.ครูและเด็กร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะของกล้วย
ขั้นสรุป
4.ครูและเด็กร่วมกันสรุประหว่างกล้วยหอมและกล้วยไข่
สื่อ
-กล้วยหอมจำนวน 3 ผล
-กล้วยไข่จำนวน 1 หวี
-ชาร์เพลง ทรงกล้วย
เพลง ทรงกล้วย
กล้วยนั้นมีสีเหลือง ในเปลือกมีเนื้อสีขาว
รูปทรงผลรีกลมยาว หวานหอมอร่อนนะเธอ
-จากนั้นครูก็ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแผนของแต่ละวันที่ได้รับมอบหมาย หน้าชั้นเรียน
โดยมีกลุ่มดังนี้
-ความรู้ที่ได้รับ
การวิเคราะห์หัวข้อเรื่องในการทำแผน
การเลือกกิจกรรมที่เหมาะสม
การจัดกิจกรรมที่นำเนื่อหาให้มาสอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์
การประเมินเด็กจากการจัดกิจกรรม
-ประเมินอาจารย์
อาจารย์อธิบายหัวข้อในแต่ละหน่วยที่เพื่อนๆออกมานำเสนอได้อย่างชัดเจน และมีการให้คำแนะนำเพื่อให้นำไปปรับใช้ให้แผนนั้นออกมาสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
แผนการสอนกลุ่มของฉันคือ เรื่องกล้วย
วัตถุประสงค์
1.เด็กรู้จักแยกแยะส่วนประกอบของกล้วย
2.เด็กรู้จักจัดหมวดหมู่ของกล้วยได้
การดำเนินการ
ขั้นนำ
1.ครูเริ่มด้วยเพลงและถามเด็กว่าในเพลง ทรงกล้วยมีลักษณะอะไรบ้าง
ขั้นสอน
2.นำกล้วยออกมาให้เด็กดูที่ล่ะ 1 ชนิดพร้อมให้เด็กสังเกต
3.ครูและเด็กร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะของกล้วย
ขั้นสรุป
4.ครูและเด็กร่วมกันสรุประหว่างกล้วยหอมและกล้วยไข่
สื่อ
-กล้วยหอมจำนวน 3 ผล
-กล้วยไข่จำนวน 1 หวี
-ชาร์เพลง ทรงกล้วย
เพลง ทรงกล้วย
กล้วยนั้นมีสีเหลือง ในเปลือกมีเนื้อสีขาว
รูปทรงผลรีกลมยาว หวานหอมอร่อนนะเธอ
-จากนั้นครูก็ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอแผนของแต่ละวันที่ได้รับมอบหมาย หน้าชั้นเรียน
โดยมีกลุ่มดังนี้
เรื่อง กล้วย
เรื่อง ยานพาหนะ
เรื่อง ของเล่นของใช้
เรื่อง ผลไม้
-ความรู้ที่ได้รับ
การวิเคราะห์หัวข้อเรื่องในการทำแผน
การเลือกกิจกรรมที่เหมาะสม
การจัดกิจกรรมที่นำเนื่อหาให้มาสอดคล้องกับวิชาคณิตศาสตร์
การประเมินเด็กจากการจัดกิจกรรม
-ประเมินอาจารย์
อาจารย์อธิบายหัวข้อในแต่ละหน่วยที่เพื่อนๆออกมานำเสนอได้อย่างชัดเจน และมีการให้คำแนะนำเพื่อให้นำไปปรับใช้ให้แผนนั้นออกมาสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)