บันทึกการเรียนครั้งที่สี่
วันพุธที่ 27 มกราคม
-บรรยากาศในห้องเรียน
อาจารย์เริ่มการเรียนการสอนด้วยการแจกกระดาษให้นักศึกษาเขียนชื่อ แล้วให้นำเอาป้ายชื่อตนเองไปติดบนกระดานที่อาจารย์ตีตารางไว้ แล้วอาจารย์ก็สอนการทำกิจกรรมนี้กับเด็กว่ากิจกรรมที่อาจารย์พาทำเราสามารถนำไปปรับใช้กับเด็กได้หลายเรื่อง เช่น การนับจำนวนเพื่อนที่มาเรียน การเพิ่มและลดของจำนวน และกานแยกกลุ่ม
หลังจากทำกิจกรรมเสร็จอาจารย์ก็มีเพลงเกี่ยวกับเด็กมาพานักศึกษาร้องเพื่อที่จะสามารถนำไปใช้ได้จริงกับเด็กๆ เช่น
เพลง สวัสดียามเช้า
สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย
เพลง หนึ่งปีมีสิบสองเดือน
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์
-ความรู้ที่ได้รับ
1.การนับ
2.การออกแบบรูปแบบการทำตารางการมาเรียนให้กับเด็กๆ
3.การเพิ่มและการลดจำนวน
4.การแบ่งกลุ่ม
-ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนสนุกและมีรูปแบบการสอนที่น่าสนใจ
มีการยกตัวอย่างและการอธิบายอย่างชัดเจน
มีการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ถามและแสดงความคิดเห็น
บล็อกนี้จัดทำขึ้นเพื่อสะสมผลงานรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559
บันทึกการเรียนการสอนสัปห์ดาที่ สาม
วันพุธที่ 20 มกราคม
บรรยากาศในห้องเรียน
-เริ่มต้นการเรียนด้วยการทำกิจกรรมเล็กน้อย คือ อาจารย์แจกกระดาษให้คนละแผ่นแล้วให้แบ่งเป็นสี่ส่วนโดยไม่จำกัดว่าตัองแบ่งแบบไหน
-จากนั้นก็ให้เขียนชื่อลงในกระดาษ โดยมีกติกาว่าให้เกิดความสมดุล
เนื้อหาและความรู้ที่ได้
๐เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์
-ให้เด็กเตรียมความพร้อมต่างๆทางคณิตศาสตร์ ที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในขั้นปฐมศึกษา
๐สาระและมาตฐานการเรียนรู้
-สาระที่ 1 จำนวน
-สาระที่ 2 การวัด
-สาระที่ 3 เรขาคณิต
-สาระที่ 4 พีชคณิต
-สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
๐คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษา
1.มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ Mathematical Thinking
-การนับจำนวน 1-20
-เข้าใจหลักการนับ
-รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
-รู้ค่าของจำนวน
-เปรียบเทียบเรียงลำดับ
-การรวมและการแยกกลุ่ม
2.มีความรู้ความเข้ใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
-เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
-รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
-เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำที่ใช้บอกเกี่ยวกับเวลา
3.มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิตศาสตร์
-ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
-รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ
4.มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่มัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5.มีส่วนร่วมในการใช้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของแผนภูมิอย่างง่าย
6.มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์มีวิธีการนำเอาสิ่งของรอบตัวมาประยุกต์และตั้งเป็นคำถามให้กับนักศึกษาได้คิด
-มีวิธีการสอนที่น่าสนใจ
-มีการสอดแทรกเนื่อหาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม
วันพุธที่ 20 มกราคม
บรรยากาศในห้องเรียน
-เริ่มต้นการเรียนด้วยการทำกิจกรรมเล็กน้อย คือ อาจารย์แจกกระดาษให้คนละแผ่นแล้วให้แบ่งเป็นสี่ส่วนโดยไม่จำกัดว่าตัองแบ่งแบบไหน
-จากนั้นก็ให้เขียนชื่อลงในกระดาษ โดยมีกติกาว่าให้เกิดความสมดุล
เนื้อหาและความรู้ที่ได้
๐เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์
-ให้เด็กเตรียมความพร้อมต่างๆทางคณิตศาสตร์ ที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในขั้นปฐมศึกษา
๐สาระและมาตฐานการเรียนรู้
-สาระที่ 1 จำนวน
-สาระที่ 2 การวัด
-สาระที่ 3 เรขาคณิต
-สาระที่ 4 พีชคณิต
-สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
๐คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษา
1.มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ Mathematical Thinking
-การนับจำนวน 1-20
-เข้าใจหลักการนับ
-รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
-รู้ค่าของจำนวน
-เปรียบเทียบเรียงลำดับ
-การรวมและการแยกกลุ่ม
2.มีความรู้ความเข้ใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
-เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
-รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
-เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำที่ใช้บอกเกี่ยวกับเวลา
3.มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิตศาสตร์
-ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
-รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรขาคณิตสองมิติ
4.มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่มัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5.มีส่วนร่วมในการใช้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของแผนภูมิอย่างง่าย
6.มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์มีวิธีการนำเอาสิ่งของรอบตัวมาประยุกต์และตั้งเป็นคำถามให้กับนักศึกษาได้คิด
-มีวิธีการสอนที่น่าสนใจ
-มีการสอดแทรกเนื่อหาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม
บันทึกของสัปห์ดาที่2
สรุปวิดีโอ
คณิตศาสตร์ปฐมวัยตัวเลขกับเด็กอนุบาล
-โรงเรียนได้คิดว่าปรัชญาการเรียนรู้พื้นฐานของนักเรียนเตรียมปฐมเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะทำให้ครูและนักเรียนสานสัมพันธ์กัน
-ครูได้สังเกตห็นว่าเด็กชอบพูดว่าเขาไม่เก่งคณิตศาสตร์ แต่ส่วนใหญ่ความคิดเหล่านี้ส่วนใหญ่มาจากผู้ปกครองที่บอกว่าตัวเองไม่เก่งคณิตศาสตร์และถ่ายทอดความคิดเหล่านั้นมาสู่ลูก และทางโรงเรียนก็กำลังสร้างทัศนคติใหม่ให้กับเด็กคือทำให้คณิตศาสตร์เป็นเรื่องที่เราต้องทำกันทุกวัน โดยเริ่มจากการนับเลข และการจัดกิจกรรมที่ทำให้เด็กสนุกกับการใช้คณิตศาสตร์เเละกิจกรรมเหล่านี้ก็จะสามารถทำให้เด็กเปลี่ยนทัศนคติกับคณิตศาสตร์ได้
วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2559
บันทึกของสัปห์ดาที่ 2
สรุปบทความ
เรื่องคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ
-การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กควรเป็นการให้เด็กมีโอกาสจัดกระทำกับวัตถุประสงค์ต่างๆเพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
-การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย คือ การจัดสภาพการณ์จริงในชีวิตประจำวันของเด็กเป็นฐานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูต้องวางแผนการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี
-ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1.การจำแนกประเภท
2.การจัดหมวดหมู่
3.การเรียงลำดับ
4.การเปรียบเทียบ
5.รูปร่างรูปทรง
6.พื้นที่
7.การชั่ง ตวง วัด
8.การนับ
9.การรู้จักตัวเลข
10.เวลา
บันทึกของสัปห์ดาที่ 2
สรุปวิจัย (แก้ไข)
เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองที่มุ่งศึกษาพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
-ความมุ่งหมายของวิจัย
เพื่อเปรี่ยบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
-สมมติฐานในการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดรูปแบบกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้มีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกัน
-ขอบเขตการวิจัย
นักรียนระดับปฐมศึกษา ชาย-หญิง โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ จำนวน 10 ห้อง
-เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
1.แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
2.แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์การสร้างแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
-สรุปผลวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์มีคะแนนเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยรวม 5 ทักษะและการจำแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่ง ทักษะการจำแนก ทักษะการนับ ทักษะการรู้ค่าของจำนวน และทักษะการเพิ่ม-ลด อยู่ในระดับที่ดี และเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ มีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในทุกทักษะสูงขึ้น
-แผนการสอนการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
หน่อย ต้นไม้ หน่วยย่อย ขนาดของต้นไม้
มโนท้ศน์ ต้นไม้มีขนาดแตกต่างกัน เช่น ต้นใหญ่ ต้นเล็ก ต้นสูง
จุดประสงค์
สามารถจำแนกจำแนกขนาดต้นไม้ได้
กิจกรรมศิลปะ ศิลปะค้นหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
ขันนำ
1.กระตุ้นการเรียนรู้ คือ ให้สิ่งเร้าที่สอดคล้องกับสาระ
2.กรองสู่มโนทัศน์ คือ กระตุ้นให้สะท้อนคิดและโยงความรู้เพื่อให้เข้าใจมากขึ้ร
ขั้นสอน
3.ครูพาเด็กออกไปสังเกตต้นไม้ในบริเวนสนามเล่นในโรงเรียน บอกจุดประสงค์ว่าจะเรียนเรื่องขนาดของต้นไม้
4.สนทนา ตั้งคำถามกับเด็กเกี่ยวกับต้นไม้ เช่น เด็กๆคิดว่าต้นไม้ในสนามมีขนาดเท่ากันหรือไม่ ต้นไม้ต้นไหนใหญ่ที่สุด ต้นไม้มีจำนวนกี่ต้น (ให้เด็กร่วมกันนับ)
7.ครูแจกกระดาษให้เด็กๆวาดรูปต้นไม้ที่ตนเองชอบ
สรุป
ให้เด็กๆถามเกี่ยวกับผลงานของเพื่อนและร่วมกันสรุปการทำกิจกรรมในครั้งนี้
สื่อ
1.ดินสอ
2.กระดาษ
3.ต้นไม้ที่สนามเด็กเล่น (ของจริง)
ประเมิน
1.สังเกตการตอบคำถามเกี่ยวกับต้นไม้ของเด็ก
2.สังเกตความสนใจในการทำกิจกรรม
3.สังเกตผลงานศิลปะของเด็ก
-แผนการสอนการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
หน่อย ต้นไม้ หน่วยย่อย ขนาดของต้นไม้
มโนท้ศน์ ต้นไม้มีขนาดแตกต่างกัน เช่น ต้นใหญ่ ต้นเล็ก ต้นสูง
จุดประสงค์
สามารถจำแนกจำแนกขนาดต้นไม้ได้
กิจกรรมศิลปะ ศิลปะค้นหา
กิจกรรมการเรียนการสอน
ขันนำ
1.กระตุ้นการเรียนรู้ คือ ให้สิ่งเร้าที่สอดคล้องกับสาระ
2.กรองสู่มโนทัศน์ คือ กระตุ้นให้สะท้อนคิดและโยงความรู้เพื่อให้เข้าใจมากขึ้ร
ขั้นสอน
3.ครูพาเด็กออกไปสังเกตต้นไม้ในบริเวนสนามเล่นในโรงเรียน บอกจุดประสงค์ว่าจะเรียนเรื่องขนาดของต้นไม้
4.สนทนา ตั้งคำถามกับเด็กเกี่ยวกับต้นไม้ เช่น เด็กๆคิดว่าต้นไม้ในสนามมีขนาดเท่ากันหรือไม่ ต้นไม้ต้นไหนใหญ่ที่สุด ต้นไม้มีจำนวนกี่ต้น (ให้เด็กร่วมกันนับ)
7.ครูแจกกระดาษให้เด็กๆวาดรูปต้นไม้ที่ตนเองชอบ
สรุป
ให้เด็กๆถามเกี่ยวกับผลงานของเพื่อนและร่วมกันสรุปการทำกิจกรรมในครั้งนี้
สื่อ
1.ดินสอ
2.กระดาษ
3.ต้นไม้ที่สนามเด็กเล่น (ของจริง)
ประเมิน
1.สังเกตการตอบคำถามเกี่ยวกับต้นไม้ของเด็ก
2.สังเกตความสนใจในการทำกิจกรรม
3.สังเกตผลงานศิลปะของเด็ก
บันทึกการเรียนการสอน สัปห์ดาที่สอง
วันพุธที่ 13 มกราคม
บรรยากาศในห้องเรียน
-บรรยากาศในการเรียนก็สนุกสนาน ครูก็มีมุกมาเล่นกับนักศึกษาเพื่อให้บรรยากาศน่าเรียนและนักศึกษาก็ไม่กดดัน
ความรู้ที่ได้รับ
-การมีเหตุผลในการคิด
-ความรับผิดชอบ
-การคิด
-การใช้โจทย์
-การคำนวณ
-คณิตศาสตร์เป็นเครื่องเหมือนกับภาษาที่เราใช้สื่อสารกัน
สรุป คณิตศาสตร์คือสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวันของเราทุกคน
*คณิตศาสตร์ในความคิดนักศึกษาคือ การคิดคำนวณในเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นที่มีตัวเลขมาข้องเกี่ยว
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
-อาจารย์ก็มีหลักการและวิธีการสอนที่สนุกสนานเหมือนเช่นเคยและมีการยกตัวอย่างสอดแทรกเพื่อที่จะให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายขึ้นอีกด้วย
วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2559
บันทึกการเรียนการสอน สัปห์ดาแรก
เมื่อนักศึกษาเข้าห้องอาจารย์ได้แจกกระดาษให้1แผ่น โดยให้แบ่งกระดาษเป็นแผ่นละ3คนเท่าๆกันแล้วก็ให้นักศึกษาเขียนว่าเป็นคนที่ไหนและให้เขียนลักษณะเด่นของตนเอง โดยเอาที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน หลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้อธิบายว่าคณิตศาสตร์นั้นไม่จำเป็นต้องมีแค่บวก ลบ คูณ หาร แต่คณิตศาสตร์นั้นอยูในชีวิตประจำวันของพวกเราทักคน เช่น กระดาษที่อาจารย์แจกให้แบ่งกันนั้นก็เป็นการใช้คณิตศาสตร์ได้เช่นกัน
ทักษะความรู้ที่ได้รับ
-ได้ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล
-การตอบคำถามหรือการพูดให้ชัดเจน
การนำไปประยุกต์ใช้
-การคิดการคำนวณ
-การใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
-การคิดอย่างมีเหตุผลและตรงประเด็น
ประเมินผู้สอน
-อาจารย์มีวิธีการสอนที่น่าสนใจและมีรูปแบบการสอนที่เป็นตัวของตัวเอง อธิบายในสิ่งที่นักศึกษาถามได้อย่างชัดเจนและเข้าใจ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)